กิจกรรมวันที่24-28 มกราคม 2554

กิจกรรมวันที่24-28 มกราคม 2554




คำอธิบาย..
ตอบข้อ    1
การเคลื่อนที่ (อังกฤษ: motion) คือ การเปลี่ยนตำแหน่งของวัตถุในช่วงเวลาหนึ่ง ซึ่งวัดโดยผู้สังเกตที่เป็นส่วนหนึ่งของกรอบอ้างอิง เมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 เซอร์ไอแซก นิวตัน ได้เสนอกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันในหนังสือ Principia ของเขา ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นกฎพื้นฐานของฟิสิกส์ดั้งเดิม การคำนวณการเคลื่อนที่ของวัตถุต่างๆ โดยใช้ฟิสิกส์ดั้งเดิมนั้นประสบความสำเร็จมาก จนกระทั่งนักฟิสิกส์เริ่มศึกษาเกี่ยวกับสิ่งที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงมาก





                                                                      คำอธิบาย...
                                                                      ตอบข้อ 3
อัตราเร็ว (สัญลักษณ์: v) คืออัตราของ การเคลื่อนที่ หรือ อัตราการเปลี่ยนแปลงของตำแหน่งก็ได้ หลายครั้งมักเขียนในรูป ระยะทาง d ที่เคลื่อนที่ไปต่อ หน่วย ของ เวลา t
อัตราเร็ว เป็นปริมาณสเกลาร์ที่มีมิติเป็นระยะทาง/เวลา ปริมาณเวกเตอร์ที่เทียบเท่ากับอัตราเร็วคือความเร็ว อัตราเร็ววัดในหน่วยเชิงกายภาพเดียวกับความเร็ว แต่อัตราเร็วไม่มีองค์ประกอบของทิศทางแบบที่ความเร็วมี อัตราเร็วจึงเป็นองค์ประกอบส่วนที่เป็นขนาดของความเร็ว
ในรูปสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ อัตราเร็วคือ
v = \frac {d}{t}




                                                                   คำอธิบาย....
                                                                  ตอบข้อ  4


ข้อมูลค่าคงที่ (Literal)
ค่าคงที่เป็นข้อมูลที่มีค่าคงที่และถูกเขียนบรรจุลงในซอร์สโค้ดของ เพื่อจุดประสงค์หลายๆอย่าง ค่าคงที่ส่วนใหญ่จะสอดคล้องกับชนิดข้อมูล คือ
  • ค่าคงที่ชนิดตัวเลขจำนวนเต็ม ใช้สำหรับกำหนดค่าเลขจำนวนเต็ม เช่น 1 46 หรือ 7048 เป็นต้น ซึ่งถือเป็นข้อมูลตัวเลขฐานสิบ สำหรับการกำหนดค่าตัวเลขจำนวนเต็มในภาษาจาวาสามารถกำหนดได้หลายฐานตัวเลขนอกเหนือจากฐานสิบ
เมื่อนำหน้าด้วยเลข 0 และตามหลังด้วยเลข 0 ถึง 7 หมายถึงเลขฐานแปด
เช่น 024 มีค่าเท่ากับ 248 หรือ 30 ในฐานสิบ
เมื่อนำหน้าด้วยเลข 0x หรือ 0X และตามหลังด้วยเลข 0 ถึง 9 หรืออักษร a ถึง z หรืออักษร A ถึง Z หมายถึงเลขฐานสิบหก
เช่น 0x1D หรือ 0X1d มีค่าเท่ากับ 1D16 หรือ 29 ในฐานสิบ






                                                                        คำอธิบาย...
ตอบข้อ  2
การเคลื่อนที่แบบวงกลม (Circular Motion)
การเคลื่อนที่แบบวงกลม  เป็นการเคลื่อนที่ที่มีแรงลัพธ์มากระทำต่อวัตถุในทิศเข้าสู่ศูนย์กลาง    เรียกว่า  แรงสู่ศูนย์กลาง โดยมีทิศตั้งฉากกับแนวการเคลื่อนที่ของวัตถุ  ( ความเร็วเชิงเส้นของวัตถุ ; v ) การเคลื่อนที่แบบวงกลมมี 2 ลักษณะ
1.  การเคลื่อนที่ในแนวราบ    มีลักษณะดังนี้   เส้นเชือกเบายาว  L  ปลายข้างหนึ่งผูกวัตถุมวล m  ปลายอีกข้างหนึ่งตรึ่งเเน่นแกว่งให้วัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลมในเเนวราบด้วยอัตราเร็วคงที่  v  ทำมุม ทีต้า
2. การเคลื่อนที่ในเเนวดิ่ง ข้อเเตกต่างของการเคลื่อนที่แบบวงกลมในระนาบดิ่งกับระนาบระดับ  คือ ระนาบระดับขนาดของความเร็วจะคงที่แต่ในระนาบดิ่งจะมีความเร็ว g มามีผลต่อความเร็วทำให้ขนาดของความเร็วเปลี่ยนแปลงไป นอกจากนี้ยังมียังการเคลื่อนที่อีกอย่างที่เป็นการเคลื่อนที่แบบวงกลม





คำอธิบาย...
ตอบข้อ  2

การเคลื่อนที่แบบวงกลม

             จากกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันที่ว่าเมื่อมีแรงภายนอกกระทำต่อวัตถุ จะทำให้วัตถุเคลื่อนที่โดยมีความเร่ง หรือมีการเปลี่ยนแปลงความเร็ว
             ถ้าแรงภายนอกกระทำต่อวัตถุในทิศเดียวกับการเคลื่อนที่ จะทำให้วัตถุเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง โดยมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของความเร็ว แต่ไม่เปลี่ยนทิศทางของความเร็ว ถ้ามีแรงภายนอกที่คงที่มากระทำต่อวัตถุ ในทิศที่ตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของวัตถุตลอดเวลา จะทำให้แนวการเคลื่อนที่หรือทิศของความเร็วเปลี่ยนแปลง คือ แนวการเคลื่อนที่ของวัตถุจะเป็นงกลม
             ดังนั้นการเคลื่อนที่ในแนววงกลมจึงหมายถึง การเคลื่อนที่ ที่มีการเปลี่ยนแปลงความเร็วตลอดเวลา ถึงแม้อัตราเร็วจะคงที่ แต่เวกเตอร์ของความเร็วเปลี่ยนแปลง

ความเร่งสู่ศูนย์กลาง
ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แบบวงกลมด้วยอัตราเร็วคงที่
1.คาบ (Period) "T" คือ เวลาที่วัตถุเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ หน่วยเป็นวินาที่/รอบ หรือวินาที
2.ความถี่ (Frequency) "f" คือ จำนวนรอบที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ภายในเวลา 1 วินาที หน่วยเป็นรอบ/วินาที หรือ เฮิรตซ์ (Hz)

รูปที่ 1

 

เมื่อวัตถุเคลื่อนที่แบบวงกลมด้วยอัตราเร็วคงที่ คาบ และความถี่จะมีค่าคงที่ โดยคาบและความถี่สัมพันธ์กันโดย



ความสัมพันธ์ระหว่าง v, T, f
จากรูปที่ 1 วัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลมรอบจุด O มีรัศมี r ด้วยอัตราเร็วคงที่ เมื่อพิจารณาการเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ


















                                                                       คำอธิบาย...
                                                                        ตอบข้อ 4


ในฟิสิกส์ ความเร่ง (อังกฤษ: acceleration, สัญลักษณ์: a) คือ อัตราการเปลี่ยนแปลง (หรืออนุพันธ์เวลา) ของความเร็ว เป็นปริมาณเวกเตอร์ที่มีหน่วยเป็น ความยาว/เวลา² ในหน่วยเอสไอกำหนดให้หน่วยเป็น เมตร/วินาที²
เมื่อวัตถุมีความเร่งในช่วงเวลาหนึ่ง ความเร็วของมันจะเปลี่ยนแปลงไป ความเร่งอาจมีค่าเป็นบวกหรือลบก็ได้ ซึ่งเรามักว่าเรียกความเร่ง กับ ความหน่วง ตามลำดับ ความเร่งมีนิยามว่า "อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็วของวัตถุในช่วงเวลาหนึ่ง" และกำหนดโดยสมการนี้

\mathbf{a} = {d\mathbf{v}\over dt}
เมื่อ
a คือ เวกเตอร์ความเร่ง
v คือ เวกเตอร์ความเร็ว ในหน่วย m/s
t คือ เวลา ในหน่วยวินาที
จากสมการนี้ a จะมีหน่วยเป็น m/s² (อ่านว่า "เมตรต่อวินาทียกกำลังสอง")
หรือเขียนเป็นอีกสมการได้

\mathbf{\bar{a}} = {\mathbf{v} - \mathbf{u} \over t}



                                                                  คำอธิบาย...
                                                                 ตอบข้อ  3
สนามไฟฟ้า (electric field) คือปริมาณซึ่งใช้บรรยายการที่ประจุไฟฟ้าทำให้เกิดแรงกระทำกับอนุภาคมีประจุภายในบริเวณโดยรอบ หน่วยของสนามไฟฟ้าคือ นิวตันต่อคูลอมบ์ หรือโวลต์ต่อเมตร (มีค่าเท่ากัน) สนามไฟฟ้านั้นประกอบขึ้นจากโฟตอนและมีพลังงานไฟฟ้าเก็บอยู่ ซึ่งขนาดของความหนาแน่นของพลังงานขึ้นกับกำลังสองของความหนานแน่นของสนาม ในกรณีของไฟฟ้าสถิต สนามไฟฟ้าประกอบขึ้นจากการแลกเปลี่ยนโฟตอนเสมือนระหว่างอนุภาคมีประจุ ส่วนในกรณีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้านั้น สนามไฟฟ้าเปลี่ยนแปลงไปพร้อมกับสนามแม่เหล็ก โดยมีการไหลของพลังงานจริง และประกอบขึ้นจากโฟตอนจริง

นิยามทางคณิตศาสตร์ของสนามไฟฟ้ากำหนดไว้ดังนี้ กฎของคูลอมบ์ (Coulomb's law) กล่าวว่าแรงกระทำระหว่างอนุภาคมีประจุสองอนุภาค มีค่าเท่ากับ

\mathbf{F} = \frac{1}{4 \pi \epsilon_0}\frac{q_1 q_2}{r^2}\mathbf{\hat r}          (1)




คำอธิบาย...
ตอบข้อ 4


 
สนามแม่เหล็ก นั้นอาจเกิดขึ้นได้จากการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้า หรือในทางกลศาสตร์ควอนตัมนั้น การสปิน(การหมุนรอบตัวเอง) ของอนุภาคต่างๆ ก็ทำให้เกิดสนามแม่เหล็กเช่นกัน ซึ่งสนามแม่เหล็กที่เกิดจากการ สปิน เป็นที่มาของสนามแม่เหล็กของแม่เหล็กถาวรต่างๆ
สนามแม่เหล็กคือปริมาณที่บ่งบอกแรงกระทำบนประจุที่กำลังเคลื่อนที่ สนามแม่เหล็กเป็นสนามเวกเตอร์และทิศของสนามแม่เหล็ก ณ ตำแน่งใดๆ คือทิศที่เข็มของเข็มทิศวางตัวอย่างสมดุล
เรามักจะเขียนแทนสนามแม่เหล็กด้วยสัญลักษณ์ \mathbf{B}\ เดิมทีแล้ว สัญลักษณ์  \mathbf{B} \ นั้นถูกเรียกว่าความหนาแน่นฟลักซ์แม่เหล็กหรือความเหนี่ยวนำแม่เหล็ก ในขณะที่  \mathbf{H} = \mathbf{B} / \mu \ ถูกเรียกว่า สนามแม่เหล็ก (หรือ ความแรงของสนามแม่เหล็ก) และคำเรียกนี้ก็ยังใช้กันติดปากในการแยกปริมาณทั้งสองนี้ เมื่อเราพิจารณาความตอบสนองต่อแม่เหล็กของวัสดุชนิดต่างๆ. แต่ในกรณีทั่วไปแล้ว สองปริมาณนี้ไม่มีความแตกต่างกันมากนัก และเรามักใช้คำแทนปริมาณทั้งสองชนิดว่าสนามแม่เหล็ก
ในระบบหน่วย SI  \mathbf{B} \ และ  \mathbf{H} \ นั้นมีหน่วยเป็นเทสลา (T) และ แอมแปร์/เมตร (A/m) หรือในระบบหน่วย cgs หน่วยของทั้งสองคือ เกาส์ (G) และ oersted (Oe)


คำอธิบาย
ตอบข้อ 4
การเคลื่อนที่แนวตรง เป็นการเคลื่อนที่ที่ไม่เปลี่ยนทิศของวัตถุ เช่น การเคลื่อนที่ของรถยนต์บนถนนตรง การเคลื่อนที่ของผลมะม่างที่ร่วงลงสู่พื้น  การเคลื่อนที่แนวตรง   แบ่งได้เป็น 2 กรณี คือ การเคลื่อนแนวตรงตามแนวราบ และกรเคลื่อนที่แนวตรงตามแนวดิ่ง

        1. การเคลื่อนที่ในแนวระดับ            เมื่อต้องการแก้ปัญหาโจทย์คำนวณเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แนวตรง ตามแนวระดับ สามารถกระทำไ้ด้ดังนี้
           1.1 เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ตามแนวระดับด้วยความเร็วคงที่  สามารถคำนวณได้ โดยใช้สมการ                       
   
gmobil08.gif
                                                                  S = vt       เมื่อ     S  คือ  ระยะทางในการเคลื่อนที่
                                                                                                        v  คือ  ความเร็วของวัตถุ
                                                                                                         t  คือ  เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่


ตัวอย่าง
    รถยนต์คันหนึ่งเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงที่ 15 เมตรต่อวินาที เมื่อเสาไฟฟ้าอยู่ห่างกันต้นละ 50 เมตร  รถยนต์คันนี้จะเคลื่อนที่ผ่านเสาไฟฟ้าจากต้นที่ 1 ถึงต้นที่ 10 ใช้เวลากี่วินาที
        แนวคิด
                         S  =  ระยะทาง  =  9  x  5o = 450  เมตร
                         v  =  อัตราเร็ว   = 15  เมตรต่อวินาที
                         t  =  เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่
        จากสมการ                   S =  vt            แทนค่าในสมการ จะได้
                                         450  =  15  x  t
                                            t   =   450 / 15
                                                =  30  วินาที                                                    ตอบ
        1.2 เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ตามแนวระดับด้วยความเร่งคงที่
             เมื่อพิจารณาวัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงที่ a และเคลื่อนที่ออกไปด้วยความเร็วต้น u  ที่เวลา t=0 และมีความเร็วสุดท้าย v ที่เวลา  t  เราสามารถคำนวณเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แนวตรงตามแนวระดับด้วยความเร่งคงที่ โดยมีสมการหรือสูตรที่ใช้ในการคำนวน  4 สูตรดังนี้
                                                1.  v  =  u  +  at                เมื่อ  u = ความเร็วต้น
                                                2.  s  =                         v = ความเร็วปลาย
                                                3.  s  = ut + at                      a = ความเร่ง
                                                4.  v = u + 2as                        t = เวลา
                                                                                                s = การกระจัด


คำอธิบาย...
ตอบข้อ  3

รังสีแกมมา (อังกฤษ: gamma ray) คือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึ่ง ที่มีช่วงความยาวคลื่นสั้นกว่ารังสีเอกซ์ (X-ray) ที่มีความยาวคลื่นอยู่ในช่วง 10-13 ถึง 10-17 หรือก็คือคลื่นที่มีความยาวคลื่นน้อยกว่า 10-13 นั่นเอง การที่ความยาวคลื่นสั้นนั้น ย่อมหมายถึงความถี่ที่สูง และพลังงานที่สูงตามไปด้วย ดังนั้นรังสีแกมมาถือเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีพลังงานสูงที่สุดในบรรดาคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ ที่เหลือทั้งหมด

4 ความคิดเห็น:

  1. ไม่ระบุชื่อ26 มกราคม 2554 เวลา 00:00

    ตรวจงานท้ายชั่วโมง

    ตอบลบ
  2. กิจกรรมวันที่24-28 มกราคม 2554
    คะเเนนเต็ม100คะเเนน
    ^^ให้86.5คะเเนน^^
    เพราะงานไม่มีลิงค์ค่ะ..

    ตอบลบ